บริการสมาชิก
บริการดิจิทัล
แผนการลงทุน
ออมเพิ่ม
ออมต่อ
สิทธิพิเศษสำหรับสมาชิก
ศูนย์ให้คำปรึกษาทางการเงิน
ความรู้คู่การออม
ปฏิทินกิจกรรม
วารสาร กบข.
แบบฟอร์มต่างๆ
คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
หน้าหลัก
ตำแหน่งที่เปิดรับ
กรอกใบสมัคร
สรุปผลการจัดซื้อ-จัดจ้าง
วิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศจำหน่ายทรัพย์สิน
MCS Web
แบบฟอร์ม
งาน กบข.
กิจกรรมต่าง ๆ
ภาพบริการสมาชิก


ศูนย์ให้คำปรึกษาทางการเงิน



การใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ครบถ้วนและถูกต้อง จะช่วยให้ผู้เสียภาษีมีเงินออมเพิ่มขึ้นและป้องกันตนจากการยื่นภาษีที่ผิดพลาด ปัจจุบันภาครัฐให้สิทธิลดหย่อนภาษีหลายรายการ ดังนี้

สิทธิเกี่ยวกับตนเองและครอบครัว

รายการหักลดหย่อน/ยกเว้นจำนวนเงินที่ใช้สิทธิเงื่อนไขสำคัญ*
ผู้มีเงินได้60,000 บาท-
คู่สมรสที่ไม่มีเงินได้60,000 บาท• สมรสจดทะเบียนเท่านั้น
บุตร30,000 บาท/บุตร
60,000 บาท/บุตรที่ 2 ขึ้นไป
ที่เกิดตั้งแต่ปี 2561
  • รายได้ของบุตรไม่เกิน 30,000 บาทในปีภาษี
  • เป็นผู้เยาว์หรือไม่เกิน 25 ปีกรณีกำลังเรียนต่อ
  • กรณีใช้สิทธิด้วยบุตรบุญธรรมจำกัดจำนวน บุตรทั้งหมดไม่เกิน 3 คน
ค่าฝากครรภ์และคลอดบุตรตามจริง แต่ไม่เกิน 60,000 บาท
  • กรณีคลอดข้ามปีให้ลดหย่อนตามปีที่ใช้สิทธิ แต่รวมกันไม่เกินอัตราที่กำหนด
ค่าอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา30,000 บาท/บิดามารดาหนึ่งท่าน
สำหรับตนเองและคู่สมรสที่ไม่มีเงินได้
  • อายุ 60 ปีขึ้นไปและมีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาทในปีภาษี
ยกเว้นเบี้ยประกันสุขภาพ บิดามารดาเบี้ยตามจริง และเมื่อรวมทั้งบิดาและมารดา
ไม่เกิน 15,000 บาท
  • บิดาและมารดามีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาทในปีภาษ
ผู้มีเงินได้เป็นผู้พิการ190,000 บาท
  • อาศัยในประเทศไทย และอายุไม่เกิน 65 ปี
ผู้มีเงินได้อายุ 65 ปีขึ้นไป190,000 บาท-

สิทธิเกี่ยวกับประกันชีวิต การออม การลงทุน

รายการหักลดหย่อน/ ยกเว้นจำนวนเงินที่ใช้สิทธิเงื่อนไขสำคัญ*
เบี้ยประกันชีวิตตามจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท
  • กรมธรรม์ที่ให้ความคุ้มครองตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป
เบี้ยประกันสุขภาพตามจริง แต่ไม่เกิน 25,0000 บาท
  • เมื่อรวมกับเบี้ยประกันชีวิตแล้วไม่เกิน 100,000 บาท
เบี้ยประกันบำนาญร้อยละ 15 ของเงินได้พึงประเมินที่ต้องเสียภาษี แต่ไม่เกิน 200,000 บาท
  • ยอดรวมของเบี้ยประกันบำนาญ เงินสะสม เข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กบข. กองทุน สงเคราะห์ครูโรงเรียนเอกชน และค่าซื้อ หน่วยลงทุน RMF SSF ต้องไม่เกิน 500,000 บาท
เงินสะสมเข้ากองทุน สำรองเลี้ยงชีพตามจริง แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
  • ยอดรวมของเบี้ยประกันบำนาญ เงินสะสม เข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กบข. กองทุน สงเคราะห์ครูโรงเรียนเอกชน และค่าซื้อ หน่วยลงทุน RMF SSF ต้องไม่เกิน 500,000 บาท
เงินสะสมเข้า กบข.ตามจริง แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
  • ยอดรวมของเบี้ยประกันบำนาญ เงินสะสม เข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กบข. กองทุน สงเคราะห์ครูโรงเรียนเอกชน และค่าซื้อ หน่วยลงทุน RMF SSF ต้องไม่เกิน 500,000 บาท
เงินสะสมเข้ากองทุนสงเคราะห์ ครูโรงเรียนเอกชนตามจริง แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
  • ยอดรวมของเบี้ยประกันบำนาญ เงินสะสม เข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กบข. กองทุน สงเคราะห์ครูโรงเรียนเอกชน และค่าซื้อ หน่วยลงทุน RMF SSF ต้องไม่เกิน 500,000 บาท
เงินสะสมเข้ากองทุน การออมแห่งชาติตามจริง แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
  • ยอดรวมของเบี้ยประกันบำนาญ เงินสะสม เข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กบข. กองทุน สงเคราะห์ครูโรงเรียนเอกชน และค่าซื้อ หน่วยลงทุน RMF SSF ต้องไม่เกิน 500,000 บาท
ค่าซื้อหน่วยลงทุน RMFร้อยละ 30 ของเงินได้พึงประเมินที่ต้อง เสียภาษี แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
  • ยอดรวมของเบี้ยประกันบำนาญ เงินสะสม เข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กบข. กองทุน สงเคราะห์ครูโรงเรียนเอกชน และค่าซื้อ หน่วยลงทุน RMF SSF ต้องไม่เกิน 500,000 บาท
ค่าซื้อหน่วยลงทุน SSFร้อยละ 30 ของเงินได้พึงประเมินที่ต้อง เสียภาษี แต่ไม่เกิน 200,000 บาท
  • ยอดรวมของเบี้ยประกันบำนาญ เงินสะสม เข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กบข. กองทุน สงเคราะห์ครูโรงเรียนเอกชน และค่าซื้อ หน่วยลงทุน RMF SSF ต้องไม่เกิน 500,000 บาท
เงินนำส่งเข้ากองทุนประกันสังคมตามจริง แต่ไม่เกิน 9,000 บาท-

สิทธิเกี่ยวกับมาตรการทางเศรษฐกิจและสังคม

รายการหักลดหย่อน/ยกเว้นจำนวนเงินที่ใช้สิทธิเงื่อนไขสำคัญ*
ดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อซื้อที่อยู่อาศัยตามจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท
  • หารเท่ากรณีกู้ร่วม
เงินบริจาคทั่วไปตามจริง แต่ไม่เกินร้อยละ 10
ของเงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายและ
ค่าลดหย่อนอื่นก่อนเงินบริจาค
-
เงินบริจาคเพื่อสนับสนุนการศึกษา
กองทุนพัฒนาครูคณาจารย์
ค่าใช้จ่ายในการจัดหาหนังสือ
เพื่อส่งเสริมการอ่าน การจัดให้
คนพิการได้รับสิทธิประโยชน์
การจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
2 เท่าของจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน ร้อยละ 10 ของเงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย และค่าลดหย่อนอื่นก่อนเงินบริจาค-
ค่าอุปการะเลี้ยงดูคนพิการ
หรือทุพพลภาพ
60,000 บาท
  • ผู้พิการหรือทุพพลภาพที่มีใบรับรอง
    และมีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาทในปีภาษี

หมายเหตุ: *เงื่อนไขที่ระบุไว้เป็นเพียงเงื่อนไขบางส่วนเพื่อการทำความเข้าใจเบื้องต้น ผู้ยื่นภาษีควรศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม


สมาชิกที่ต้องการข้อมูลเกี่ยวกับการใช้สิทธิลดหย่อนภาษี เช่น
  • เงื่อนไขการใช้สิทธิลดหย่อนภาษีประเภทต่างๆ
  • วิธีลงทุนและขายหน่วยลงทุนกองทุน LTF และ RMF อย่างถูกต้อง
  • การยื่นแบบประเมินภาษีเงินไดุ้คคลธรรมดา